Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11831
Title: The study of serum progesterone 17 hydroxyprogesterone and 17 beta estradiel by radioimmunoassay in Thai swamp buffalo
Other Titles: การศึกษาระดับโปรเจสเตอโรนและเอสตราไดออลในซีรัมกระบือไทย
Authors: Maneewan Kamonpatana
Email: [email protected]
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science
Subjects: Hormones, Sex
Progesterone
Hydroxyprogesterone
Buffaloes
Estradiol
Radioimmunoassay
Issue Date: 1975
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A radioimmunoassay for the measurement of serum progesterone (P), 17 hydroxyprogesterone (17P) and 17B estradiol (E[subscript2]) were described. The antisera obtained from Dr. G.E. Abraham, Department of obstetrics and Gynecology, University of California. Male buffaloes free hormone serum (FHS) was prepared for pooled steroids preparation. Separation of free from bound hormone was achieved by dextran coated charcoal suspension. On ml of pooled serum with tritrated these steroids added for recovery, was extracted with ether, then chromatographed on a celite microcolumn. The specificity of antisera has been show significantly specific cross reaction. After purification step by celite chromatography, the contaminants could be all removed. Recovery of the labeled P, 17P and E[subscript2] after extraction and chromatography were 71.7–94.5%, 70.2–94.1% and 61.0–80.7% respectively. The percentage recovery of standard P, 17P and E[subscript2] added in FHS varied in the ranges of 72.9–89.6, 77.0–97.0 and 85.5-101.3 respectively. The precision of within and between assay variance was evaluated by duplicated measuraments of the same sample in the same assay and in 5 different assays. The coefficient of variation (CV) were 8.2% (P and 17P), 8.3% (E[subscript2]) and 13.2% (P), 11.2% (17P), 14.6% (E[subscript2]) respectively. The sensitivity varied between 3.5–25.0 pg of P, 4.0–25.0 pg of 17P and 2.5–10.0 pg of E[subscript2].
Other Abstract: การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของฮอร์โมนเพศ ระหว่างวงจรการเป็นสัดในกระบือไทย นับว่าจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการผสมเทียมแล้ว ยังเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาระบบการสืบพันธ์ของเพศเมียอีกด้วย เนื่องจากลักษณะการเป็นสัดของกระบือที่สังเกตจากภายนอก มีอาการไม่ชัดเจน และมีระยะสั้น ถ้าเทียบกับกระบือนม ซึ่งมีระยะการเป็นสัด 24-36 ชั่วโมง Kaleff (1942), Hafez (1954), และ Ivanov and Sachriev (1960). ผลเด่นชัดที่จะได้จากการศึกษานี้ก็คือ สามารถตรวจหาระยะตกไข่ที่แน่นอน ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน โปรเจสเตอโรน (P), 17 ไฮดรอซี่โปรเจสเตอโรน (17P) และ 17 เมตาเอสตราไดออล (E[subscript2]) ระหว่างวงจรการเป็นสัด ในการศึกษานี้ได้ศึกษาวิธีวัดฮอร์โมนทั้ง 3 ตัวดังกล่าว โดยถือวิธี raidioimmunoassay ของ Abraham et al (1971) เป็นหลักเพื่อทดสอบหามาตรฐานที่เชื่อถือได้ในการวัดระดับของฮอร์โมนเหล่านี้ ในซีรัมวงจรสัดของกระบือไทย ได้เตรียมซีรัมกระบือผู้ที่กำจัดฮอร์โมนออกแล้ว เติมฮอร์โมนมาตรฐานที่ทราบจำนวนแน่นอน เพื่อใช้ทดสอบหามาตรฐานของวิธีวัดโดยใช้ 1cc ของซีรัมที่ผ่านขบวนการวัดตามวิธีที่กำหนดแล้ว ผลการทดลองพบว่า specificity ของ Antiserum มี cross reaction กับสเตียรอยด์ที่ต้องการวัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การผ่าน celite chromatography สามารถจะกำจัดสิ่งเจือปนที่รบกวนปฏิกิริยาได้หมด ทำให้วิธีนี้สามารถวัดสเตียรอยด์ได้ทั้ง 3 ตัวในซีรัม 1cc .เปอร์เซ็นต์ recovery จากการเติม H[superscript3]P, H[superscript3]17P และ H[superscript3]E[subscript2] ได้ผล 71.1–94.5%, 70.2– 94.1% และ 61.0–80.7% ตามลำดับ ส่วนเปอร์เซ็นต์ recovery ของ P, 17 P และ E[subscript2] มาตรฐานได้ผล 72.9–89.6%, 77.0–97.0% และ 54.5–101.3% ตามลำดับ Precision ของผลการทดลองวัดตัวอย่างเดียวกัน 5 ครั้ง ในการทดลองครั้งเดียวกันได้ Coefficient of variation (CV) 8.2% สำหรับ P และ 17 P กับ 8.3% สำหรับ E[subscript2] ส่วน Precision ของผลการทดลองวัดตัวอย่างเดียวกันซ้ำกัน 5 ครั้ง ในการทดลองต่างกัน 5 ครั้ง ได้ CV 13.2% สำหรับ P 11.2% สำหรับ 17P และ 14.6% สำหรับ E[subscript2] ความไว (sensitivity) ของวิธีวัดพบว่าใน P มีความไววัดได้ละเอียดระหว่าง 3.5–25.0 พิโครกรัม ใน 17P ได้ 4.0–25.0 พิโครกรัม และใน E[subscript2] วัดได้ 2.5–10.0 พิโครกรัม สรุปได้ว่าเราสามารถที่จะใช้วิธีนี้ สำหรับวัดระดับของฮอร์โมนทั้ง 3 ในซีรัมกระบือไทยได้
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11831
Type: Technical Report
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Maneewan_Study.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.