Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13261
Title: | Optimization of the debutanizer in platforming unit using PRO/II |
Other Titles: | การหาสภาวะที่เหมาะสมของหอกลั่นแยกบิวเทนในหน่วยเพิ่มค่าออกเทนด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้โปรแกรม PRO/II : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
Authors: | Wiwut Tanthapanichakoon Anchaleeporn Waritswat Lothongkum |
Email: | [email protected] [email protected] |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang. Faculty of Engineering |
Subjects: | Liguefied petroleum gas Petroleum -- Refining Distillation |
Issue Date: | 2004 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | To present the simulation model and the optimization of the operating conditions for the debutanizer of a platforming unit in a refinery plant using PRO/II for the most profit based on product quality constraints by varying the debutanizer column pressure and reboiler heat duty. The simulation models were simulated using PRO/II and the actual characteristic data of the debutanizer under steady state operation. The simulation results of the base case were found to agree well with the actual operating data. According to the preliminary economic evaluation by the optimization at the debutanizer column pressure of 14.5 kg/cm2 and the reboiler heat duty of 3.2364 X 10 [superscript 6] kcal/h or so-called a relaxed reformate RVP case (at max. reformate Reid vapor pressure at 60 degree F of 5.22 psi), the greatest economic benefit of 61.12 $US/h was obtained. This case was verified as a production guidelines. In addition, it was found that with an increase in the 8th-tray’s temperature, the amount of [subscript 5 superscript +] in liquefied petroleum gas (LPG) significantly increased without the effect on the reformate Reid vapor pressure at 60 degree F. |
Other Abstract: | เสนอแบบจำลองและการหาสภาวะการดำเนินงานที่เหมาะสมสำหรับหอกลั่นแยกบิวเทนในหน่วยเพิ่มค่าออกเทนด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาของโรงกลั่นน้ำมันที่เป็นกรณีศึกษาด้วยโปรแกรม PRO/II เพื่อให้ได้ผลตอบแทนสูงสุดภายใต้เงื่อนไขตามคุณภาพของผลิตภัณฑ์โดยการปรับพารามิเตอร์คือ ความดันของหอกลั่นแยกบิวเทนและพลังงานของรีบอยเลอร์ ในการสร้างแบบจำลองด้วยโปรแกรม PRO/II ใช้คุณสมบัติและข้อมูลจริงจากการปฏิบัติงานของหอกลั่นแยกบิวเทนที่สภาวะคงตัว พบว่าการจำลองด้วยแบบจำลองพื้นฐานสอดคล้องกับข้อมูลการปฏิบัติงานจริงที่ได้จากหอกลั่นแยกบิวเทน และจากการประเมินทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นได้ผลตอบแทนสูงสุดที่ 61.12 เหรียญสหรัฐต่อชั่วโมงที่ความดันของหอกลั่นแยกบิวเทน 14.5 กก. ต่อตารางเมตร และพลังงานของรีบอยเลอร์ที่ 3.2364 X 10 [superscript 6] กิโลแคลอรีต่อชั่วโมง หรือที่เรียกว่ากรณี relaxed reformate RVP คือ ค่าความดันไอของรีฟอร์เมตที่อุณหภูมิ 60 องศาฟาเรนไฮต์ (Reid vapor pressure : RVP) ไม่เกิน 5.22 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว สภาวะนี้มีความเหมาะสมที่จะเป็นแนวทางสำหรับกระบวนการผลิต นอกจากนี้จากการศึกษาผลของอุณหภูมิของเทรย์ที่ 8 พบว่าอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นทำให้ปริมาณ C [subscript 5 superscript +] ในแก๊สปิโตรเลียมเหลวเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน แต่ไม่มีผลต่อความดันไอของรีฟอร์เมตที่อุณหภูมิ 60 องศาฟาเรนไฮต์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13261 |
Type: | Technical Report |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wiwut_Debu.pdf | 7.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.