Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13814
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พรพิมล ตรีโชติ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันเอเชียศึกษา | - |
dc.coverage.spatial | พม่า | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2010-11-01T11:36:40Z | - |
dc.date.available | 2010-11-01T11:36:40Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13814 | - |
dc.description | นโยบายต่างประเทศช่วงปี ค.ศ.1948-1962 ว่าด้วย "ความเป็นกลาง" -- นโยบายต่างประเทศพม่าหลังปี ค.ศ. 1988 -- การกำหนดนโยบายต่างประเทศภายใต้ SLORC -- ก๊กมินตั๋งกับการรุกรานรัฐฉานของพม่า -- ปัญหาพรรคคอมมิวนิสต์พม่ากับความพยายามครอบงำพม่าของจีน -- ความสัมพันธ์จีน-พม่า ในบริบทกลุ่มชาติพันธุ์ -- จุดหักเหในความสัมพันธ์อินเดีย-พม่า -- ปัจจัยจีน : ภัยคุกคามที่น่ากลัวสำหรับอินเดีย -- อินเดียกับนโยบายมุ่งตะวันออก (Look East Policy) -- ความร่วมมืออินเดีย-พม่า บริเวณชายแดน -- ยุทธศาสตร์ภูมิภาคของอินเดีย : จากแม่น้ำคงคาสู่แม่น้ำโขง -- การปรับเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศของไทยต่อพม่ายุคของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร -- ลำดับเหตุการณ์ความสัมพันธ์พม่า-ไทย-จีน-อินเดีย ปี ค.ศ. 1988-2002 | en |
dc.description.abstract | นโยบายต่างประเทศของพม่าในบริบทของกลุ่มชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อย และผลกระทบต่อประเทศไทย เป็นงานวิจัยที่มุ่งศึกษาการกำหนดนโยบายต่างประเทศของพม่าต่อประเทศเพื่อนบ้านหลักคือ จีนและอินเดีย นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1988 เป็นต้นมา โดยเน้นการศึกษากรณีอันสัมพันธ์กับบริบทของกลุ่มชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยบริเวณชายแดนจีน-พม่า และอินเดีย-พม่า ผลการศึกษาพบว่า รัฐบาลพม่าได้กำหนดและดำเนินนโยบายกับจีนและอินเดีย เพื่อแก้ไขปัญหาการสู้รบบริเวณชายแดนระหว่างรัฐบาลพม่า และกองกำลังของกลุ่มชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อย ในบริเวณชายแดนของประเทศทั้งสองจนประสบความสำเร็จคือ รัฐบาลจีนและอินเดียต่างให้ความร่วมมือกับพม่าเป็นอย่างดีในการหว่านล้อมให้กองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยกลุ่มสำคัญ อาทิ กลุ่มของคะฉิ่น กลุ่มของพรรคคอมมิวนิสต์พม่า ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มจีนโกกั้ง และกลุ่มว้า บางกลุ่มของไทใหญ่ เป็นต้น ในส่วนของชายแดนอินเดีย-พม่า รัฐบาลอินเดียได้ปรับนโยบายต่างประเทศให้สอดคล้องกับนโยบายความมั่นคงของพม่า ด้วยการให้ความร่วมมือกับรัฐบาลพม่าปราบปรามกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อย กลุ่มชิน และกลุ่มนากา ตลอดจนกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองที่หลบภัยและซ่องสุ่มกองกำลังบริเวณชายแดน พร้อมกันนั้น ก็ไดนำเสนอโครงการความร่วมมือระหว่างสองประเทศ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจบริเวณชายแดนร่วมกัน อาทิ การค้าชายแดน และการสร้างถนนและสะพานเพื่อสนับสนุนการค้า เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงในบริเวณชายแดนและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรัฐบาลพม่ากับรัฐบาลอินเดีย และจีน ทำให้รัฐบาลไทยต้องปรับเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศต่อพม่าไปด้วยเช่นกัน รัฐบาลไทยในสมัยของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร พยายามแก้ไขปัญหาของการดำรงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยบริเวณชายแดน พร้อมทั้งนำเสนอโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนาชายแดนร่วมกับรับบาลพม่าในหลายโครงการอันเป็นรูปแบบเดียวกันกับจีนและอินเดีย | - |
dc.description.abstractalternative | To investigate the Myanmar’s foreign policy with China and India which relevant to ethnic minority context since 1988. The findings in this study are as follows 1) Myanmar government has successes in conducting its foreign policy to serve the national security on ethnic minority problems. 2) Myanmar has persuaded China and India to monitor the border and to curtail the ethnic armed groups which operate against Myanmar government along the border. Several armed groups such as t he Kachin Independent Army and the Communist Party of Burma which composed of the Chinese Kokang and Wa ethnics and some of Shan armed groups had agreed to ceasefire with Myanmar government. India on the other hand, agrees to co-operate with Myanmar to monitor the border and to suppress the ethnic armed groups such as Chin and Naga as well as the political movements which operated along India-Myanmar border. Consequently, the India government offers developed projects to boost up the border trade such as infrastructure construction to encourage goods and people transportation between the two countries. The drastic changes on India-Myanmar and Sino-Myanmar border, have encourage Thai government to rethink her policy toward the ethnic minority armed groups Thai-Myanmar border. Many develop projects are offered to Myanmar government in the light of co-operations between the two countries. | - |
dc.format.extent | 30755833 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | นโยบายต่างประเทศ -- พม่า | en |
dc.subject | ชนกลุ่มน้อย -- พม่า | en |
dc.subject | พม่า -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ไทย | en |
dc.subject | พม่า -- การเมืองและการปกครอง | en |
dc.title | การดำเนินนโยบายต่างประเทศของพม่าในส่วนสัมพันธ์กับชนกลุ่มน้อยและผลกระทบต่อความสัมพันธ์ไทย-พม่า : รายงานวิจัย | en |
dc.title.alternative | The Myanmar foreign policy in ethnic minority context and impact on Thai-Myanmar relationship | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Asia - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pornpimol_Myanmar.pdf | 30.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.