Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31044
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจรรยา ชัยเจริญพงศ์-
dc.contributor.authorทรงจันทร์ ภู่ทอง-
dc.contributor.authorอณุมาศ บัวเขียว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2013-05-17T08:29:12Z-
dc.date.available2013-05-17T08:29:12Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31044-
dc.description.abstractจากการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของพืชสมุนไพรที่เก็บตัวอย่างมาจากอุทยานแห่งชาติปางสีดา จำนวน 40 ชนิด สามารถคัดกรองพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้ จำนวน 13 ชนิด ได้แก่ อ้อยสามสวน (ใบ), คัดเค้าป่า (ใบ), มะก่อง (ทั้งใบและกิ่ง), มะก่องใหญ่ (ใบ), ข้าวหลาม (ใบ), ตาเสือ (ทั้งใบและกิ่ง), คนทีสอ (กิ่ง), รางโคน (ใบ), เขียวพุ่ม (ใบ), ตะโกป่า (ใบ), ขานาง (ผล), พันชาด (ใบ) และพลองขี้ควาย(ใบ) สารสกัดหยาบเอทานอลจากใบมะก่องขม aglaia elaeagnoidea (A. Juss.) Benth.) ให้ผลกายับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งได้ดีที่สุดจึงถูกเลือกนำมาแยกและหาสารบริสุทธิ์เพื่อทดสอบความสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง พบสาร MKE4F-2 (8.5 มิลลิกรัม, 0.004% ของน้ำหนักใบอบแห้ง), สาร MKE4H-4 (2.6 มิลลิกรัม, 0.001% ของน้ำหนักใบอบแห้ง), สาร MKE4I-4 (11.6 มิลลิกรัม, 0.005% ของน้ำหนักใบอบแห้ง) และ MKE6F-5 (14.6 มิลลิกรัม, 0.007% ของน้ำหนักใบอบแห้ง) จากส่วนสกัดเอทิลอะซิเตตของใบมะก่องขม และเมื่อพิสูจน์ทราบโครงสร้างพบว่าสาร MKE4F-2 และ MKE6F-5 คือสาร 5-hydroxy-6,7,8-trimethoxy-2-4-methoxyphenyl)-4H-chromen-4-one (5-demethyltangeretin) และ triterpenoid ตามลำดับ สำหรับสาร MKE4H-4 และสาร MKE4I-4 เป็นสารผสม ซึ่งสารที่แยกออกมาได้ทั้งสี่ตัวนี้สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งทั้ง 5 ชนิดได้ดี โดยสาร MKE4F-2 สามารถยังยั้งเซลล์มะเร็ง Chago ได้ดีที่สุดจากการทดสอบด้วยค่า IC50 เท่ากับ 0.70 ug/mI และ สาร MKE4H-4 สามารถยังยั้งเซลล์มะเร็ง Hep-G2, BT474 และ KATO-III ได้ดีที่สุดจากกาทอสอบด้วยค่า IC50 เท่ากับ 0.30, 3.28 และ 0.06 ug/ml ตามลำดับ สำหรับผลการทดสอบกับเซลล์มะเร็ง SW620 สารทั้งสี่ตัวให้ค่า IC50 น้อยกว่า 0.001 ug/ml ซึ่งน้อยกว่าค่า IC50 ของ Doxorubicin 90 เท่าเป็นอย่างน้อย ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอาจนำมาพัฒนาเป็นยาในการรักษาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ในอนาคต-
dc.description.abstractalternative40 Medicinal plants from Pangsrida National park were tested for cytCltoxicity against cancer cell line. 13 rv.iedicinal plants; Aoisamsuan (leaD, Kudkaopa (leaD, Makong (leaf and stem), Makongyai (leaD, Khaolam (leaD, Tasae (leaf and stem), Konteso (stem), Rangdon (leaD, Keawpum (leaD, Takopa (leaD, Khanang (fruit), Punchad (leaD and Plongkeekwai (leaD; were showed cytotoxicity against cancer cell line. Ethanol extract of Aglaia elaeagnoidea (A. Juss.) Benth. showed strongest cytotoxicity activity. It was separated to obtain 4 fraction; MKE4F-2 (8.S mg, 0.004% w/w of dried leaD, MKE4H-4 (2.6 mg, 0.001 % w/w of dried leaD, MKE4I-4 (11.6 mg, O.OOS% w/w of dried leaD and MKE6F-S (14.6 mg, 0.007% w/w of dried leaD from ethyl acetate extract. MKE4F-2 and MKE6F-S are S-hydroxy-6,7,8-trimethoxy-2-(4methoxyphenyl)-4H-chromen-4-one (S-demethyltangeretin) and triterpenoid, respectively but MKE4H-4 and MKE4I-4 are mixture. All of them showed strong cytoxicity against cencer cell line. MKE4F-2 showed strongest acti"ity against Chago cancer cell line with IC50 0.70 Ilg/ml, MKE4H-4 showed so strongest activity against Hep-G2, BT474 and KA TO-III with IC50 0.30, 3.28 and 0.06 Ilg/ml, so respectively. All of separated compounds showed strong activity against SW620 with IC50 < O.OOIIlg/ml, so less than IC50 of Doxorubicin 90 times. The results indicated that compounds extracted from A. so elaeagnoidea may be developed to be colon cancer drug in the future.-
dc.description.sponsorshipได้รับการสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2553 และ 2554en
dc.format.extent8080575 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสมุนไพร -- ไทยen
dc.subjectสมุนไพร -- ไทย -- การวิเคราะห์en
dc.subjectสมุนไพร -- การใช้รักษา -- ไทยen
dc.subjectเซลล์มะเร็ง -- การเจริญเติบโต -- การควบคุมen
dc.subjectพิษต่อเซลล์en
dc.titleความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของพืชสมุนไพรไทยจากอุทยานแห่งชาติปางสีดา : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeCytotoxicity of medicinal plants from Pangsrida National Parken
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
Appears in Collections:Biotec - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
junya_ch_2554.pdf7.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.