Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนัท กุลวานิชen_US
dc.contributor.authorณัฐพงษ์ วารีประเสริฐen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีen_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:42:38Z
dc.date.available2016-11-30T05:42:38Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50089
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อออกแบบแผนการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิสองขั้น โดยสุ่มหน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่งแบบกำหนดความน่าจะเป็นให้เป็นสัดส่วนกับขนาด เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการสำรวจเรื่องการเรียนกวดวิชาของนักเรียนไทยในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษได้จริง เพื่อให้ผู้วิจัยท่านอื่นที่สนใจสำรวจเรื่องการเรียนกวดวิชา นำไปคำนวณและสำรวจจริงได้ โดยใช้วิธีการเลือกหน่วยตัวอย่าง 2 ขั้นคือ การสุ่มตัวอย่างขั้นที่ 1 เป็นโรงเรียน และการสุ่มตัวอย่างขั้นที่ 2 เป็นนักเรียน ขั้นตอนแรกของวิธีการวิจัย คือ การออกแบบแผนเบื้องต้น เพื่อกำหนดข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการสำรวจ และทำการสำรวจเบื้องต้น พร้อมทั้งคำนวณหาค่าความแปรปรวนและค่าสหสัมพันธ์ภายในชั้น ขั้นตอนที่สอง คือ การพิจารณาขนาดตัวอย่าง เพื่อคำนวณหาจำนวนโรงเรียนและนักเรียนเฉลี่ยที่ต้องการสำรวจ โดยผลที่ได้คือจำนวนโรงเรียนเท่ากับ 30 โรงเรียน และแต่ละโรงเรียนจะสำรวจนักเรียนเฉลี่ย 75 คน ขั้นตอนที่สาม คือ การแบ่งชั้นภูมิ โดยจะแบ่งออกเป็น 2 ชั้นภูมิ คือ ชั้นภูมิที่ 1 แทนภายในกรุงเทพมหานคร และ ชั้นภูมิที่ 2 แทนภายนอกกรุงเทพมหานคร การจัดสรรหน่วยตัวอย่าง จะใช้การแบ่งตามสัดส่วนแบบเท่ากัน จึงทำให้ได้ผลคือ จำนวนโรงเรียนที่ต้องการสำรวจทั้งภายในและนอกกรุงเทพมหานครอย่างละ 15 โรงเรียน และการสุ่มหน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่งจะเลือกใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบแบบกำหนดความน่าจะเป็นให้เป็นสัดส่วนกับขนาด จากบัญชีรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ขั้นตอนที่สี่ คือ การสุ่มหน่วยตัวอย่างขั้นที่สอง ในแต่ละโรงเรียนที่ได้จากขั้นที่หนึ่ง โดยขั้นตอนนี้ จะคำนวณหาจำนวนนักเรียนจริงในภาคสนาม ก่อนทำการสุ่มนักเรียนจากบัญชีรายชื่อนักเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนที่ไปสำรวจ และขั้นตอนสุดท้าย คือ นำเสนอสูตรการประมาณค่าที่เหมาะสมกับการสุ่มตัวอย่างชนิดนี้ คือ ตัวประมาณแบบอัตราส่วนen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is for design a two-stage stratified sampling to apply in survey tutoring of Thai student for specialty large-sized secondary schools. This research assists surveyor and interesting person to survey for convenience. The sampling design in this research can be applied. The strategy covers two sampling units, the primary sampling unit was schools and secondary sampling unit was students. The first step of research is design overview to prepare pilot survey plan, perform pilot surveys and calculate variance and intraclass correlation coefficient. Second step is sample size consideration to find number of schools, students and sample sizes. The result in this step yields 30 schools and 75 students for each of the school. Third step is stratification, allocation and primary sampling unit. In this research, stratification can be divided to the group of schools in Bangkok and in other provinces. Each of stratums can be allocated in equal. The result is 15 schools in Bangkok and 15 schools in other provinces. For primary sampling unit (PSU) use systematic probability proportionate to Size for select schools from list. Fourth step is secondary sampling unit (SSU) which is student from school in previous step. This step can be computed the number of student when the cluster size are known and sample student form list. Last step: the study also proposes an estimator that is suitable for this research which is the ratio estimator.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.969-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสุ่มตัวอย่าง (สถิติ)
dc.subjectการสอนเสริม
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา
dc.subjectSampling (Statistics)
dc.subjectTutors and tutoring
dc.subjectHigh school students
dc.titleการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิสองขั้นโดยสุ่มหน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่งแบบกำหนดความน่าจะเป็นให้เป็นสัดส่วนกับขนาด: กรณีศึกษาแผนการสำรวจการเรียนกวดวิชาของนักเรียนไทยในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษen_US
dc.title.alternativeTwo-stage stratified surveys with probability proportional to size sampling of primary sampling units : a case study survey tutoring of Thai student for speciality large-sized secondary schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถิติen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.969-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5681529026.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.