Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53353
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัญญา จารุศิริ-
dc.contributor.authorณฐพล รำพึงกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.date.accessioned2017-09-27T04:17:22Z-
dc.date.available2017-09-27T04:17:22Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53353-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractลักษณะธรณีสัณฐานวิทยาที่บ่งชี้ว่าเป็นรอยเลื่อน เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางธรณีสัณฐาน โดยใช้ข้อมูลทางโทรสัมผัสในการแปลความหมายเป็นหลัก ซึ่งได้นำมาใช้ในการประเมินความสัมพันธ์ทางธรณีแปรสัณฐานกับลักษณะภูมิประเทศที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตามแม่น้ำสาระวินตอนล่างในภาคตะวันออกของสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าที่เห็นได้ชัดเจนโดยอาศัยข้อมูลจากภาพถ่ายจากดาวเทียม งานวิจัยนี้เลือกใช้การดูธรณีสัณฐานวิทยาเพื่อนำไปวิเคราะห์การแปรสัณฐาน ผลจากการวิเคราะห์พบว่า ลักษณะธรณีสัณฐานวิทยาที่บ่งชี้ว่าเป็นรอยเลื่อนมีพลังในบริเวณพื้นที่ศึกษา พบว่ารอยเลื่อนที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีอยู่ 2 แนวหลักได้แก่ แนว NW-SE และ แนว NNE-SSW ซึ่งแนว NNE-SSW เป็นแนวที่ตัดเข้ามาในแอ่งตะกอนยุคซีโนโซอิกซึ่งมีโอกาสที่จะเป็นรอยเลื่อนมีพลัง โดยพบหลักฐานทางธรณีสัณฐานวิทยาที่บ่งชี้ว่าเป็นรอยเลื่อนมีพลัง ได้แก่ สั้นกั้น สั้นยื่นเหลื่อม ธารเหลื่อม และ ผารอยเลื่อน โดยเกิดจากรอยเลื่อนปรกติและรอยเลื่อนเหลื่อมแบบขวาเข้า สามารถนำไปคำนวณหาขนาดความรุนแรงของแผ่นดินไหวสูงสุดที่อาจเกิดขึ้นได้ ซึ่งค่าที่มากที่สุดในพื้นที่ศึกษาคือ 6.1 ริกเตอร์จากสมการ และมีการเคลื่อนตัวในแนวตั้งคือ 75 – 100 เมตร จากการเคลื่อนตัวของผารอยเลื่อน ลักษณะธรณีสัณฐานวิทยาที่บ่งชี้ว่าเป็นรอยเลื่อนมีพลังที่ได้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นของการศึกษาพฤติกรรมกระบวนการธรณีแปรสัณฐาน จากการศึกษาลักษณะภูมิประเทศโดยรวมเพื่อบอกลักษณะการเปลี่ยนแปลง และผลที่อาจเกิดจากรอยเลื่อนมีพลัง นอกจากนี้ยังสามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาต่อไปได้ในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeTectonic geomorphology is the methods that can evaluating effectively the tectonic activities related erosional process. This study focuses on the investigation of tectonic geomorphology along southern part of the salawin river eastern republic of the union of myanmar. This is analyzed by remote sensing data and satellite. In this study use the morphotectonic features indicate strike-slip fault to analysis tectonic geomorphology. From the results, morphotectonic features that indicate active fault in the study areas have 2 major trend : NW-SE and NNE-SSW. NNE-SSW trend is the fault that cut through Cenozoic basin so it can evaluating as active fault, the evidences that conclude it to Right-lateral(Dextral)strike-slip fault are shutter ridge, offset spur, offset stream and fault scarp. In addition for maximum earthquake magnitude. It is 6.1 Mw. .In case the vertical slip is 75-100 m by estimate from fault scarp. However, the tectonic geomorphology from morphotectonic features are only preliminary data on study tectonic activity. The study of landscape as a whole to describe the changes and activity in the area caused of active fault. The result from this study can help study area for other exploration on this area.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยา -- พม่าen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- พม่าen_US
dc.subjectขนาดแผ่นดินไหว -- พม่าen_US
dc.subjectGeomorphology -- Burmaen_US
dc.subjectFaults (Geology) -- Burmaen_US
dc.subjectEarthquake magnitude -- Burmaen_US
dc.titleธรณีสัณฐานวิทยาจากการแปรสัณฐานตามแม่น้ำสาระวินตอนล่างในภาคตะวันออกของสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าen_US
dc.title.alternativeTectonic geomorphology along southern part of the Salawin river, eastern Republic of the Union of Myanmaren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332710923 ณฐพล รำพึงกิจ.pdf7.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.