Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53363
Title: ธรณีสัณฐานวิทยาและรูปแบบของกุมภลักษณ์จากแม่น้ำโขงบริเวณสามพันโบก อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี
Other Titles: Geomorphology and patterns of pot-holes from the Mekong river, Sam Pun Bok, Amphoe Pho Sai, Changwat Ubonratchathani
Authors: ปภณ รักษาธรรม
Advisors: มนตรี ชูวงษ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: ธรณีสัณฐานวิทยา -- ไทย -- อุบลราชธานี
หินทราย -- ไทย -- อุบลราชธานี
สามพันโบก (อุบลราชธานี)
Geomorphology -- Thailand -- Ubonratchathani
Sandstone -- Thailand -- Ubonratchathani
Sam Pun Bok (Ubonratchathani)
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: น้ำแหล่งสามพันโบก เป็นพื้นที่ที่มีกุมภลักษณ์ หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “โบก” กระจาย ตัวอย่างมากมายในชั้นหินทรายหมวดหินภูพาน อย่างไรก็ตามการศึกษาเชิงลึกทางด้านธรณี สัณฐานวิทยาในพื้นที่รวมถึงการจำแนกลักษณะกุมภลักษณ์ นั้นมีค่อนข้างน้อย อีกทั้งการตั้ง อุทยานธรณีวิทยาในบริเวณพื้นที่สามพันโบก จำเป็นต้องศึกษาข้อมูลการทำงานหรือวิวัฒนาการ ของแม่น้ำโขงในพื้นที่ซึ่งมีการเกิดของกุมภลักษณ์ การจำแนกรูปแบบของกุมภลักษณ์ วิเคราะห์ การเกิด รวมทั้งหาความสัมพันธ์กับสภาพธรณีสัณฐานวิทยา เพื่อการเผยแพร่ข้อมูลธรณีวิทยาใน พื้นที่หินทรายในพื้นที่ศึกษาเป็นหินทรายเนื้อ ทรายหยาบปนเม็ดกรวด ชั้นหินด้านบนสุดที่พบ กุมภลักษณ์มีเนื้อค่อนข้างละเอียดหรือมีขนาดเม็ดตะกอนที่เท่าๆกัน มีความหนาตั้งแต่ 1-3 เมตร พบโครงสร้างชั้น เฉียงระดับขนาดใหญ่ พบมีเม็ดกรวดเรียงตัวตามแนวชั้นเฉียงระดับ ตำแหน่งที่พบ กุมภลักษณ์อย่างมากมายนั้น! พบว่าชั้นหินมีมุมเอียงเทที่ต่ำมากหรือน้อยกว่า 5 องศา และพบว่า กุมภลักษณ์มีการกระจายตัวอยู่ประมาณกลางโครงสร้างแบบประทุนหงายของชั้นหินที่มีแม่น้ำโขง ตัดผ่านจากแนวทิศเหนือไปสู่ทิศใต้ ซึ่งจากการวิเคราะห์การกวัดแกว่งของทางน้ำพบว่ามีการ เปลี่ยนแปลงหรือวิวัฒนาการในแนวระดับน้อยมาก ผลการวิเคราะห์รูปแบบของกุมภลักษณ์โดยคำนึงถึงปัจจัยทางธรณีวิทยาของชั้นหิน ลักษณะปรากฏของเนื้อหิน โครงสร้างตะกอนในชั้นหิน และโครงสร้างทางธรณีวิทยา สามารถจำแนกรูปแบบของกุมภลักษณ์ ได้ 6 รูปแบบ คือ 1) รูปแบบหม้อกลม 2) รูปแบบแนวโค้ง ยาว 3) รูปแบบสระน้ำขนาดใหญ่ 4) รูปแบบโพรงถ้ำคล้ายหลุมยุบ 5) รูปแบบเส้นตรงเชื่อมต่อกัน 6) รูปแบบร่องน้ำรูปตัวยู หรือแคนยอน
Other Abstract: Sam Pun Bok area is characterized by widespread of pot-holes or “Bok” in Thai. The pot-holes in this area are found relatively in PhuPhan Formation. However, there are little documents for geomorphic study of the pot-hole formation in this area. In addition, studying of pot-hole formation, paleo-evolution and avulsion of the MeKong river, identifying pot-hole pattern and relationship between geomorphology and pot-hole will bring a great information for geo-park establishing. Pot-hole in this area occurs extensively in place where the bedding of sandstone of PhuPhan Formation lying as sub-horizontal beds (less than 5 degree). These sandstone beds are located just in the middle part of almost east-west syncline axis where the Mekong river cutting across the beds from almost north-south direction and the analysis of the development or avulsion of the Mekong river showed that is changed in a very low level. Pebbly sandstone here contains mega cross-bedding and trough cross-bedding with the thickness of each bed ranging between 1-3 m. Patterns of pot-hole are classified based on their morphology, texture, sedimentary and geological structure as 1) single pot shape, 2) long curve shape, 3) large pool shape 4) sink-hole like cave, 5) straight and connect shape and 6) U-shape valley or canyon
Description: โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53363
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332718023 ปภณ รักษาธรรม.pdf28.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.