Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56686
Title: พระราชวังและวัดหลวงสมัยกรุงศรีอยุธยาในเอกสารฮอลันดา
Authors: ภาวรรณ เรืองศิลป์
Email: [email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Subjects: วัง -- ไทย
พระราชวังวัง -- ไทย
วัดหลวง -- ไทย
ชาวต่างประเทศ -- ไทย
ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงศรีอยุธยา,1893-2310
Issue Date: 2552
Publisher: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Citation: วารสารไทยศึกษา 5,1(ก.พ.-ก.ค. 2552),1-28
Abstract: สำหรับผู้มาเยือนชาวต่างชาติ วังและวัดเป็นสถานที่สำคัญที่บ่งบอกถึงคติความเชื่อหลักทีเกี่ยวกับรัฐและเป็นสังคมของราชอาณาจักรอยุธยาว่าเป็นการปกคลองโดยกษัตริย์ผู้มีอำนาจเด็ดขาดและเป็นสังคมที่น้อมรับนับถือพระพุทธศาสนา รายสำนักอยุธยาเปิดโอกาสให้ตัวแทนของกลุ่มชาวต่างชาติที่สำคัญเข้าเฝ้ากษัตริย์และเข้าร่วมในพระราชพิธีต่างๆ ซึ่งกิจกรรมของพระมหากษัตริย์และราชสำนักเหล่านี้ไม่ได้จัดขึ้นเพียงเฉพาะในเขตพระราชวังเท่านั้นแต่ยังรวมถึงสถานที่อื่นๆด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามพระอารามหลวงที่สำคัญ กลุ่มพ่อค้าชาวลันดาเป็นชาวต่างชาติกลุ่มหนึ่งที่ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมพระราชพิธีและโอกาสสำคัญในพระราชวังหลวงและพระอารามหลวงอย่างค่อนข้างสม่ำเสมอตลอดระยะเวลาร่วม ๑๖๐ ปีที่อยู่ ในอยุธยา บทความนี้ต้องการแสดงให้เห็นว่าพระราชวังหลวงและพระอารามหลวงฮอนลันดาในสยามอย่างไร และสิทธิของชาวฮอนลันดาในการเข้าถึงสถานที่สำคัญเหล่านี้ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระราชฮอนลันดามีความสัมพันธ์กับสถานภาพของพวกเขาในสยามในฐานะที่เป็นทั้ง พ่อค้า นักการทูต และข้าราชสำนัก
Other Abstract: For foreign visitors to the Kingdom of Ayutthaya, the palaces and The temples were the indicators of its fundamental ideas of state and society:a rule by absolute kingship and Buddhist society: The Dutch merchantswere an important group that was allowed the attend the royal ceremoniesand important occasions at the royal palace and temples on a regular basisin the some hundred and sixty years of their presence in Siam This articlewill demonstrate how the royal palace and temples of Ayutthaya were observed and represented in the cross-cultural experience of the Dutch, and how their multifarious status in Siam as merchants, diplomats and courtiers affected their right to these exclusive places and their understanding of them.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56686
ISSN: 1686-7459
Type: Article
Appears in Collections:Arts - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bhawan_Ru_Art1.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.