Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72756
Title: Removal of automotive emissions by modified three-way catalysts
Other Titles: การกำจัดแก๊สเสียจากรถยนต์โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางแบบดัดแปร
Authors: Janjira Wongpaitoonpiya
Advisors: Piyasan Praserthdam
Suphot Phatanasri
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: [email protected]
[email protected]
Subjects: Automobiles -- Motors -- Exhaust gas
Combustion gases
Nitric oxide
รถยนต์ -- เครื่องยนต์ -- ไอเสีย
ก๊าซ (ท่อไอเสีย)
ไนตริกออกไซด์
Issue Date: 1995
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The objective of this study is to modify the conventional three-way catalysts using base metals. The catalytic performance of the modified catalyst was compared with the conventional three-way catalyst. The composition of the modified catalyst was selected by using atomic mass ratio as criterion. Pd and Co were selected because they have atomic mass ratios near that of Pt/Rh of the conventional three-way catalyst. The result shows that the active site for NO reduction may be the combination between Pd and Co in a suitable ratio. The suitable ratio of palladium to cobalt for preparing the modified three-way catalyst is 1 : 1. In addition, it was observed that the calcination of the catalyst under a reducing atmosphere and at a high temperature (700 degree celsius for 7 hrs.) or pretreat by simulated exhaust gases (rich condition) could enhance the efficiency of the modified three-way catalyst, especially for carbon monoxide and propane oxidation. However, NO reduction is inversely and simultaneously affected. The reason for this phenomenon may be because the strength of oxygen adsorption of a reduced modified three-way catalyst is higher than that of a conventional three-way catalyst. In addition, the window operation of a modified three-way catalyst is 1 ± 0.03
Other Abstract: ในงานวิจัยนี้มุ่งที่จะดัดแปรตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางโดยใช้โลหะพื้นฐาน ในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางแบบดัดแปรสำหรับการกำจัดแก๊สในไนตริกออกไซด์ โดยปฏิกิริยารีดักชันและกำจัดแก๊สโพรเพน และแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์โดยปฏิกิริยาออกซิเดชัน เปรียบเทียบสมรรถนะของตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางที่ดัดแปรขึ้นกับตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางแบบเดิม.จากการศึกษาพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางแบบดัดแปรที่ประกอบด้วยโลหะโคบอลต์ และโลหะแพลเลเดียม ได้จากการเลือกโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้เลขมวลอะตอมของโลหะ ส่วนการรวมตัวกันของโลหะบนตัวเร่งปฏิกิริยาจะมีอิทธิพลต่อแหล่ง กัมมันต์ของการรีดักชันแก๊สไนตริกออกไซด์ สำหรับสัดส่วนของโลหะแพลเลเดียมต่อโลหะโคบอลต์ที่เหมาะสมในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา 3 ทางคือ 1 : 1 และการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาโดยเผาเหลือเถ้าที่อุณหภูมิสูงภายใต้บรรยากาศรีดิวซ์และการปรับสภาพก่อนการใช้งานภายใต้บรรยากาศแก๊สเสียที่ภาวะการทำงานที่มีอัตราส่วนผสมค่อนข้างหนา (S = 0.8) จะเพิ่มความว่องไวอย่างมากต่อปฏิกิริยาออกซิเดชันของแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์ และแก๊สโพรเพน เช่นเดียวกันกับตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางแบบเดิม ในขณะเดียวกันจะลดความว่องไวต่อรีดักชันของแก๊สไนตริกออกไซด์ ซึ่งเป็นผลจากความแรงในการดูดซับออกซิเจนบนตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางแบบดัดแปรที่ถูกรีดิวซ์มากกว่าบนตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางแบบเดิม สำหรับช่วงการทำงานของตัวเร่งปฏิกิริยาสามทางแบบดัดแปรต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนผสมของแก๊สเสียจะมีช่วงกว้าง คือ 1 ± 0.03
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1995
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72756
ISBN: 9746328395
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Janjira_wo_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ927.78 kBAdobe PDFView/Open
Janjira_wo_ch1_p.pdfบทที่ 1693.94 kBAdobe PDFView/Open
Janjira_wo_ch2_p.pdfบทที่ 2704.98 kBAdobe PDFView/Open
Janjira_wo_ch3_p.pdfบทที่ 31.1 MBAdobe PDFView/Open
Janjira_wo_ch4_p.pdfบทที่ 4862 kBAdobe PDFView/Open
Janjira_wo_ch5_p.pdfบทที่ 52.35 MBAdobe PDFView/Open
Janjira_wo_ch6_p.pdfบทที่ 6630.03 kBAdobe PDFView/Open
Janjira_wo_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก842.23 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.