Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35971
Title: | Comparison between the subjective and objective assessments of chewing ability in mandibular implant-retained overdenture patients |
Other Titles: | การเปรียบเทียบระหว่างวิธีการตรวจพินิจแบบจิตวิสัยกับวิธีการตรวจพินิจ แบบวัตถุวิสัยต่อความสามารถในการบดเคี้ยวของผู้ป่วยที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากล่างคร่อมรากฟันเทียม |
Authors: | Neerush Kunon |
Advisors: | Orapin Kaewplung |
Other author: | Chulalongkorn University, Faculty of Dentistry |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | Dentures Dental implants Mastication ฟันปลอม ทันตกรรมรากเทียม การบดเคี้ยว |
Issue Date: | 2012 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This study aimed to investigate the relationship between the subjective and objective assessments of chewing ability in mandibular implant-retained overdenture patients. Thirty-eight participants (mean ages: 69.2±8.3 years) were evaluated their chewing function 3 times: 1 month after implant placement, 1 month after the insertion of a mandibular implant-retained overdenture and 3 months after the insertion of a mandibular implant-retained overdenture. Subjective chewing ability was evaluated using a developed questionnaire consisting of 14 common food types. Objective chewing ability was assessed by a wax cube analysis method. The results showed that, at 3 months after the insertion of mandibular implant-retained overdenture, the outcome of the subjective assessment of chewing ability positively relate to the outcome of the objective assessment of chewing ability. |
Other Abstract: | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวิธีการตรวจพินิจแบบจิตวิสัยกับวิธีการตรวจพินิจแบบวัตถุวิสัยต่อความสามารถในการบดเคี้ยวของผู้ป่วยที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากล่างคร่อมรากฟันเทียม โดยผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 38 ราย (อายุเฉลี่ย 69.2±8.3 ปี) จะได้รับการประเมินการทำหน้าที่การบดเคี้ยวจำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ ภายหลังการฝังรากฟันเทียม 1 เดือน ภายหลังใส่ฟันเทียมทั้งปากล่างคร่อมรากฟันเทียม 1 เดือน และภายหลังใส่ฟันเทียมทั้งปากล่างคร่อมรากฟันเทียม 3 เดือน โดยการประเมินความสามารถในการบดเคี้ยวด้วยวิธีการตรวจพินิจแบบจิตวิสัยจะใช้แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วยรายการอาหารจำนวน 14 ชนิด ส่วนการประเมินความสามารถในการบดเคี้ยวด้วยวิธีการตรวจพินิจแบบวัตถุวิสัยจะใช้วิธีการวิเคราะห์ชิ้นขี้ผึ้ง ผลศึกษาพบว่า ที่ระยะเวลา 3 เดือนภายหลังจากผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการใส่ฟันเทียมทั้งปากล่างคร่อมรากฟันเทียม ผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินความสามารถในการบดเคี้ยวด้วยวิธีการตรวจพินิจแบบจิตวิสัยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินความสามารถในการบดเคี้ยวด้วยวิธีการตรวจพินิจแบบวัตถุวิสัย |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Periodontics |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35971 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.809 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2012.809 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
neerush_ku.pdf | 1.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.